บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2018

สรุปบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ความหมายของอินเทอร์เน็ต                 อินเตอร์เน็ต เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อสื่อสารด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์สองเครือข่ายขึ้นไปที่เชื่อมต่อกัน เรียกว่า internet (กลุ่มของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน)   ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต                 ปี พ.ศ. 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติอเมริกา (National Science Foundation : NSF) ให้เงินทุนสร้างศูนย์ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง ใช้ชื่อว่า NSFnet ในปี พ.ศ. 2533 อาร์พาเน็ตไม่สามารถที่จะรองรับภาระที่เป็นโครงข่ายหลักได้ จึงเปลี่ยนใช้ NSFnet และเครือข่ายอื่น ๆ แทนมาจนเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่จนปัจจุบัน เรียกว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต                 องค์การที่ทำหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐาน และดูแลการใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตร่วมกัน คือ หน่วยงาน World Wide Web Consortium : W3C                 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตทู (Intern

แบบฝึกหัด บทที่ 5

แบบฝึกหัด บทที่ 5 1. จงอธิบายความหมายของอินเทอร์เน็ต  ตอบ  อินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึงกลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อ สื่อสารด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครือข่ายขึ้นไปที่เชื่อมต่อกัน จะเรียกว่า Internetwork หรือ Internet 2. จงอธิบายการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบ Direct Internet Access  ตอบ  การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยตรง (Direct Internet Access) การเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง ผู้ใช้จะต้องมีคอมพิวเตอร์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกับ โครงข่ายหลักหรือแบ็กโบน (Backbone) โดยต้องมีอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นเกตเวย์ (Gateway) ในการเชื่อมต่อ ซึ่งได้แก่เราเตอร์ (Router) โดยปกติแล้วการเชื่อมต่อในลักษณะนี้มักเป็น องค์การของรัฐ สถานบันการศึกษาที่อนุญาตให้หน่วยงานอื่นใช้เครือข่าวร่วมกัน 3. รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ   1. ธุรกิจกับธุรกิจ(Business to Business) หรือ B-to-B หรือ B2B เป็นการท า ธุรกรรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มุ่งเน้นให้บริกา

สรุปบทที่ 4 การสื่อสารข้อมูล และเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์

รูปภาพ
บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูล และเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ ควาหมายและพัฒนาการของการสื่อสารข้อมูล     การสื่อสาร (communication)   หมายถึง การส่งข้อมูลจากฝ่ายหนึ่ง ไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง     ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักในการหาความจริง โดยในที่นี้ข้อมูลจะอยู่ในรูปเลขฐานสอง ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถทำงานได้     การสื่อสารข้อมูล (data communication)   หมายถึง กระบวนการถ่ายโอน หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลในรูปแบบเลขฐานสอง ของอุปกรณ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป ผ่านตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลมีจุดประสงค์เพื่อติดต่อ และเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์     เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันได้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกได้ตาสภาพการเชื่อมโยงเป็น 4 ชนิด ดังนี้ 1 เครือข่ายส่วนบุคคล         เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (personal ar

แบบฝึกหัด บทที่4

บทที่ 4 แบบฝึกหัด  1.จงอธิบายลักษณะการส่งและรับสัญญาณจากผู้ส่งไปยังผู้รับ   ตอบ   วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อ ถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้นกลับมาให้อยู่ใน รูปที่มนุษย์สามารถที่จะ เข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้ นก็คือสิ่งรบกวน(Noise)จากภายนอก ท าให้ ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางใน การส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวนเหล่านี้ โดย การพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด 2.ลักษณะการส่งข้อมูลสามารถแบ่งการส่งข้อมูลออกตามลักษณะได้กี่แบบอะไรบ้าง   ตอบ   สามารถแบ่งการส่งข้อมูลออกตามลักษณะการส่งข้อมูลได้ 2 ชนิด                1. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission)                2. การส่งแบบขนาน (parallel transmission) 3.จงบอกวิธีการเข้ารหัสข้อมูล data code อย่างน้อย 3 อย่าง ตอบ 1. การเข้ารหัสแบบสมมาตร (Symmetric key algorithms) : การเข้ารหัสแบบสมมา
กรณีศึกษา ให้นักศึกษาทำกรณีศึกษาต่อไปนี้ (รายละเอียดศึกษาได้จากวารสาร Eworld ฉบับเดือนพฤษภาคม 2547) คุณเอกชัย ฤชุทัศน์สกุล เจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยวเกี๊ยวปลา ได้นำเทคโนโลยีพีดีเอมาใช้ในการขายก๋วยเตี๋ยว ซึ่งปัญหาของระบบการสั่งซื้อก๋วยเตี๋ยวแต่เดิม คือ ความผิดผลาดในรายละเอียดของก๋วยเตี๋ยวที่สั่ง เช่น ไม่ใส่ถั่วงอก ไม่ใส่กระเทียมเจียว ทำให้การสั่งอาหารเกิดความล่าช้า ลูกค้าต้องคอยนานซึ่งความผิดผลาดในลักษณะนี้อาจเกิดความไม่พอใจของลูกค้าได้ ดังนั้นคุณเอกชัย จึงนำเครื่องพีดีเอมาประยุกต์ใช้งานควบคุมกับโปรแกรมสั่งอาหาร ซึ่งมีข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเลขที่โต๊ะอาหาร หมวดของอาหาร ข้อมูลอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนข้อมูลผู้ใช้ เช่น รหัสผ่านและการกำหนดสิทธิ์ ภายในร้านก๋วยเตี๋ยวมีการติดตั้งแอกเซสพอยท์ (Access Point) เพื่อรับส่งข้อมูลการสั่งอาหารจากพ็อกเก็ตพีซี เพื่อไปปรับปรุงฐานข้อมูลระบบที่เซิร์ฟเวอร์ในสำนักงาน และจะมีการอัพเดทการสั่งอาหารไปยังห้องครัว พนักงานยังสามรถคิดค่าอาหารจากพ็อกเก็ตพีซี นอกจากนี้ระบบยังสามารถจัดทำรายงานเพื่อการบริหารจัดการต่างๆได้ เช่น รายงานยอดขาย รายงานสรุปรายการอาหารที่ขาย เป็น